บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2018

วิธีการเรียนรู้และเทคนิคจัดการจัดการเรียนรู้

รูปภาพ
วิธีการ เรียนรู้และเทคนิค จัดการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย (Lecture Method) การจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย (Discussion Method) การจัดการเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion) การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต (Demonstration Method) การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Method) การจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงละคร (Dramatization) การจัดการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม (Game) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process) การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสุ่ม (Group Process) การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค TGT (Team Games Tournaments) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค JIGSAW การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integration) การจัดการเรียนรู้แบบ STORYLINE การจัดการเรียนรู้แบบมุ่งประสบการณ์ภาษา (Concentrated Language Enco

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ

รูปภาพ
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ                         ลักขณา  สร ิวัฒน์   ( 2557 : 193-206 )  ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Cooperrative   Learning     Theory ) ไว้ดังนี้                    ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ( Cooperrative   Learning    Theory )  การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่เน้นให้ครูใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เนื่องจากมีรูปแบบการสอนให้เลือกอย่างหลากหลายตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระ ต่างๆ  สำหรับเนื้อหาและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ จำแนกเป็น  8  เรื่อง ได้แก่ ความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือ วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้แบบร่วมมือ องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือลักษณะสำคัญของการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ ขั้นตอนการเรียนรู้แบบร่วมมือ และการประยุกต์ใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือในการสอน ดังรายละเอียดต่อไปนี้                   1.  ความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือ  มีนักการศึกษาต่างประเทศหลายท่านที่ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับความหมายข